• stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
  • stacked glass, stacking glass, stack glass
011 022 033 044 055 066 077 088 099 1010 1111 1212 1313
English
Thai
Suphunnahongse The Royal Barge
Unique ASEAN summit symbol of a Kingdom
Dusit Thani / Hua-Hin / Prachuap Khiri Khan / Thailand
Dimension : W 300 mm. x L 600 mm. x T 60 mm.
Thailand’s uniquely breathtakingly impressive, yet all too rare, Royal Barge Procession - กระบวนพยุหยาตราชลมารค, is a ceremony of both religious and royal significance spanning 7-centuries, gracing only the most significant cultural and religious events. During the more than 60-year reign of His Royal Highness King Bhumipol Adulyade, this inimitable marvel has only occurred on 16 historical Occasions. Consisting of 52 barges manned by 2,082 oarsman, this truly magnificent flotilla majestically progresses the Chao Phraya River of Kings, passing the left bank Temple of the Emerald Buddha and Grand Palace, Wat Po, housing an enormous reclining Buddha and famous school of medicinal massage, before finally arriving at the right bank, graphically as well as historically iconic, Wat Arun, “The Temple of the Dawn”. In 1782, King Rama I ordered the construction of the Royal Barge Suvarnahong, Principle Royal Barge for over 100 years, before King Rama VI, in 1911, launched her fitting successor, also named Suvarnahong or “The Golden Swan”.

With a bow resembling a celestial mythical swan, adorned with gold lacquer and glistening jewels, this gracious yet imposing object of bedazzling beauty serenely carries in her bill a mesmerizing crystalline sphere, bedecked with opulent tassels. This 46 meter craft was carved from a single trunk of teak wood, and was launched on the 13th November, 1911.

There is a golden Pavilion centered on board to house the King and his Royal family. Such is the significance of this spectacular vessel, that the World Ship Trust, in 1992, awarded the Royal Barge Suphannahong as a Maritime World Heritage.

Khun Jirawat Chavanatit is our entrusted renowned honoree guest artist whose stunning creations, using a modern medium and technique combined with traditional skills heavily influenced by Thai classical genius, has for 23-years frozen his imagination and creativity into tangible masterpieces, such as his famous “Ice Buddha”, for all to admire and appreciate.

In his hands, with unique skill the hard lifeless medium of glass is transformed into living molten crystal, spectacularly petrified in time under the spell of a spiritual artistic magician.

With this in mind, it seemed only fitting to present as a welcoming gift to the Summit leaders something that epitomizes the essence of Thai culture. The result, a spectacular interpretation by Khun Jirawat of one of the most famous royal barges, “Suvarnahong”.

May this striking symbol long remind the recipients, of the friendship and deep respect between Thailand and its neighbours within the ASEAN family interestingly, in 2006, Khun Jirawat was commissioned by Khun Victor Suksuree to produce something grand that would grace the newly refurbished lobby of the Dusit Thani, Hua Hin. His brief was that the form and style must be worthy of the Rama VI era of luxury after which the hotel was fashioned. Khun Jirawat did not disappoint and the “Ice Water Fountain”, a symbol of everlasting flow, was born to grace the centrepiece feature of the hotel lobby. Now those attending this final, Thai chaired, summit will have a reminder not only of their first view upon entering the Dusit Thani, Hua Hin, but also of the style of Thai hospitality and instantly recognizable stylistic representations forwhich our beautiful country has become so famous.

ารล่องเรืออย่างเงียบสงบของ “เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์” อันแวววาวตระการตา เอกลักษณ์แห่งความเป็นไทยเป็นที่น่าตื่นเต้นยินดีเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งในปัจจุบันหาชมได้ยาก นั่นก็คือ กระบวนพยุหยาตราชลมารคเป็นพิธีสำคัญของศาสนาและราชวงศ์ซึ่งได้สืบทอดราชประเพณีมาอย่างยาวนาน 7 ศตวรรษ เป็นพระราชพิธีที่ทรงคุณค่าทางศาสนาและศิลปะวัฒนธรรมเป็นอย่างยิ่ง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ได้มีการจัดกระบวนพยุหยาตราชลมารคมาแล้วจำนวน 16 ครั้ง ประกอบด้วยเรือทั้งหมด 52 ลำ กำลังพลฝีพายเรือ จำนวน 2,082 คน กระบวนเรือที่สวยและสง่างามนี้ได้ดำเนินทางแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านซ้ายผ่านวัดศรีรัตนศาสดาราม พระบรมหาราชวัง และวัดโพธิ์ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่และเป็นโรงเรียนที่มีชื่อเสียงของการนวดสมุนไพร ก่อนที่จะเสด็จพระราชดำเนินถึงฝั่งขวา จะมีสถาปัตยกรรมทางประวัติศาสตร์อันโดนเด่น นั้นคือ วัดอรุณราชวราราม ตามบันทึกเรื่องราวกระบวนเรือพระราชพิธีอันยาวนานกว่า 100 ปี ในปี พ.ศ. 2325 สมัยรัชกาลที่ 1 ได้ทรงสร้างเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ และก่อนรัชสมัยรัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2454 การสร้างเรือก็สำเร็จ และก็ได้รับพระราชนามว่า เรือสุพรรณหงส์ หรือ หงส์ทองคำ

ดั่งโขนเรือเป็นรูปหงส์ดังตำนาน ลงรักปิดทองและประดับกระจกแวววาวอย่างงดงาม เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ได้สะท้อนความงามสง่าอันโดดเด่นของประกายรัศมีจากกระจกที่ประดับ และการตกแต่งด้วยพู่ห้อยทรงพุ่มอันสวยงาม เรือพระที่นั่งนี้มีความยาว 46 เมตร และแกะสลักจากต้นสัก และได้ประกอบพิธีลงน้ำเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454 เรือพระที่นั่งจะทอดบัลลังก์กัญญา เป็นที่ประทับกลางลำ และด้วยความสำคัญของเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ดังกล่าวมาแล้ว ทำให้องค์การเรือโลกแห่งสหราชอาณาจักรได้ถวายเหรียญรางวัลเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ซึ่งเป็นเหรียญรางวัลมรดกทางทะเลขององค์การเรือโลก ประจำปี พ.ศ.2535

คุณจิรวัฒน ชวนะธิต ศิลปิน ที่ได้รับมอบหมายจากโรงแรมดุสิตธานี หัวหิน เป็นศิลปินที่มีความคิดสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมในการใช้สื่อที่ทันสมัย และเทคนิคที่นำมาผสมผสานกับทักษะแบบดั้งเดิมที่ได้รับอิทธิพลจากความอัจฉริยะของศิลปินไทยในอดีต เป็นเวลา 23 ปี เกิดการตกผลึกของจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ผลงานชิ้นเอกของเขา ดังเช่นผลงานสร้างชื่อเสียง “Ice Buddha” เพื่อให้ทุกคนได้ชื่นชมและสักการะ ด้วยฝืมือของคุณจิรวัฒน กับความชำนาญในการออกแบบ ที่มีเอกลักษณ์ในการถ่ายทอดรูปแบบของแก้วจากจินตนาการ ให้สามารถมีชีวิตชีวาขึ้นมาได้ ดั่งการเสกมนต์ของนักมายากล

ด้วยความลำบากใจว่าจะหาของขวัญ ที่จะเหมาะสมต่อการต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมสุดยอดผู้นำนั้น ต้องแสดงถึงนัยสำคัญของประเพณีไทยได้ และผลจากการตีความที่น่าประทับใจของคุณจิรวัฒน ก่อเกิดเป็น “เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์” ด้วยหวังว่าของขวัญที่โดดเด่นนี้เป็นสิ่งแสดงถึงมิตรภาพและความเคารพอย่างยิ่งระหว่างประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน

ในปี พ.ศ. 2549 คุณจิรวัฒน ได้รับมอบหมายจากคุณวิกเตอร์ สุขเสรี ให้สร้างสิ่งที่หรูหราตระการตาสำหรับการตกแต่งใหม่ห้องโถงของโรงแรมดุสิตธานี หัวหิน ใจความสั้นๆ ของคุณวิกเตอร์นั้น ก็คือรูปทรงและรูปแบบที่สมควรกล่าวขานว่าเป็นความหรูหราในสมัยรัชกาลที่ 6 นับจากที่โรงแรมได้รับการตกแต่งแล้ว คุณจิรวัฒนก็ไม่ได้ทำให้ผิดหวัง และ “Ice Water Fountain” สัญลักษณ์ของความเคลื่อนไหวอันเป็นนิรันดร์ ถูกสร้างขึ้นมาให้เป็นประติมากรรมที่ตั้งอยู่กลางห้องโถงโรงแรม ขณะนี้คณะผู้เข้าร่วมประชุมสุดยอดผู้นำในครั้งสุดท้ายที่ประเทศไทยเป็นประธานการของประชุม ไม่เพียงจะถึงนึกถึงภาพทรงจำแรกที่ได้เข้ามาพักที่โรงแรมดุสิตธานี หัวหินเท่านั้น แต่ยังคงคิดถึงการต้อนรับอันอบอุ่นแบบไทย และระลึกถึงสิ่งที่แสดงออกถึงความสวยงามของประเทศเราที่มีชื่อเสียงอย่างมากตลอดมา